“น้ำมันยังมีหมด รถยังมีวันล้าง” ท่อนสุดฮิตจากเพลงรักไม่ยอมเปลี่ยนแปลง โดย ติ๊ก ชิโร่ อาจจะคุ้น ๆ หูท่านผู้อ่านกันไม่มากก็น้อย ในทำนองเดียวกัน ก็ต้องมีวันที่เราต้องเอาอุปกรณ์งานสำรวจของเรามาปัดล้างกันบ้าง แต่ทำยังไง? CST จะบอกคุณเอง!
ในโลกปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวหน้า ทั้งการทำรูปให้เป็นคลิปวิดีโอด้วย AI การพัฒนารถยนต์ที่ใช้น้ำมันเป็นรถยนต์พลังงานไฟฟ้า หรือแม้แต่ในงานสำรวจก็มีการพัฒนาอุปกรณ์กันอยู่ตลอดเวลา ทุกท่านคงรู้จักกล้องโทเทิลสเตชั่น กล้องสำรวจครอบจักรวาลที่นิยมใช้กัน แต่วันนี้เราจะพูดถึงเทคโนโลยีขั้นกว่าที่เรียกว่า กล้องโทเทิลโรบอติก
งานวิศวกรรมโยธาจำเป็นจะต้องมีการทดสอบคุณภาพของวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้าง รวมถึงการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้าง วิศวกรโยธาที่ดีจะต้องมีความรู้ในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพวัสดุ เพื่อให้งานได้คุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกำหนด ที่สำคัญ วิศวกรโยธาที่ดีจะต้องรู้จักเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ แต่ถ้าคุณเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่ยังไม่รู้ หรือต้องการอ่านรายละเอียดที่ย่อยง่าย วันนี้เราจะมาแนะนำ 5 เครื่องมือทดสอบงานโยธาที่วิศวกรโยธาควรรู้จัก พร้อมข้อดีข้อเสียของแต่ละเครื่องมือกัน
ของเหลว หรือ Liquid ถ้าพูดถึงคำนี้ทุกท่านนึกถึงอะไรบ้างคะ? หลัก ๆ คงเป็น น้ำ น้ำมัน เครื่องดื่มต่าง ๆ แต่รู้ไหม? ดินเองก็มีโอกาสเป็นของเหลวได้เหมือนกัน เช่นขี้โคลนเป็นต้น แน่นอนสภาพดินเป็นสิ่งสำคัญในการก่อสร้าง และการทดสอบที่ดีก็ย่อมหมายถึงผลงานที่ดี เอาล่ะ! ไปทำความรู้จักกับ Liquid Limit ของดินและวิธีการทดสอบมันกันเถอะ
มีมาตรฐาน ASTM ของสหรัฐอเมริกา มาตรฐาน DIN ของเยอรมนี มาตรฐาน BS ของสหราชอาณาจักร มาตรฐาน EN ของยุโรป มาตรฐาน JIS ของญี่ปุ่น แล้วมาตรฐานไทยโดยคนไทยล่ะ? แน่นอนว่าไทยเราก็ไม่น้อยหน้าอารยประเทศ เพราะเราก็มีมาตรฐาน วสท. โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยนั่นเอง และบทความนี้จะพาทุกคนไปรู้จักมาตรฐานวสท. นี้กัน #มาตรฐาน101กับCST #มาตรฐานไทย
เคยสงสัยไหมคะ? ว่าพวกป้ายจราจรหรือเครื่องตรวจจับความเร็วที่ติดตั้งเพิ่มหลังทำถนนเสร็จเขาติดตั้งกันได้อย่างไร? หรือเราจะใช้อะไรเจาะเพื่อตรวจสอบคุณภาพถนน? วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับเครื่องเจาะคอนกรีตและยางมะตอย CST รุ่น EDM-02 ที่มีเพื่อการนี้โดยเฉพาะ!