หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
คำเหล่านี้รวมทั้งศัพท์ในบริบทอื่น ๆ นั้น หากใช้ในภาษาพูด ก็อาจจะไม่ต้องคำนึงถึงหลักความถูกต้องทางภาษาและการสะกดคำมากหนัก แต่หากคำเหล่านั้นถูกนำมาใช้ในภาษาเขียนแล้ว ย่อมแสดงได้ถึงความมืออาชีพ ความใส่ใจต่อผู้รับสารได้อีกด้วย ผู้เขียนเองก็ยอมรับว่าตัวเองยังมีข้อผิดพลาดมากมายนักในการเขียน แต่เพราะว่าเราอยู่ในยุคเทคโนโลยี ข้อมูลทุกอย่างในโลกนี้อยู่ใกล้เราแค่เพียงปลายนิ้วมือ! โลกแห่งอินเทอร์เน็ตที่ไร้รอยต่อ อยู่ในสมาร์ทโฟนของท่านแล้ว
หนทางพิสูจน์ม้า กาลเวลาพิสูจน์คน แล้วอะไรเล่าจะพิสูจน์ว่าถนนยางมะตอยที่ใช้ทุกวันนั้นมีคุณภาพ มาค่ะ เราจะมาบอกให้ฟังว่า ‘ยางมะตอยทดสอบแบบไหนได้บ้าง’
หลาย ๆ ท่านน่าจะคุ้นเคยกับ “องศา (Degree)” ในงานสำรวจกันเป็นอย่างดี แต่สำหรับนักสำรวจมือใหม่อาจจะสงสัยว่า “ลิปดา (Arcmin)” และ “ฟิลิปดา (Arcsecond)” คืออะไร เกี่ยวข้องกับหน่วยนาทีและวินาทีของนาฬิกาหรือไม่ บทความนี้จะแนะนำให้ทุกคนได้รู้จักกัน!
ยุคนี้การนำขยะมา ‘Reuse Reduce Recycle’ เป็นเรื่องที่ไม่ตกเทรนด์ นอกจากจะช่วยลดขยะแล้ว ยังได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ด้วย วันนี้เราไม่ได้มาพูดถึงสานตะกร้า OTOP แต่อย่างใด เราจะยกตัวอย่างการ Reuse วัสดุในงานโยธา มาดูกันว่า เศษใจเหลือ ๆ เอ้ย! #เศษยางรถยนต์เหลือ ๆ จะสามารถนำมา #ประยุกต์กับงานโยธาได้หรือไม่?