หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
ขอต้อบรับสู่ #ห้องเรียนนักสำรวจ วิชา RTK ที่อาจมีบางท่านสับสนกับ ATK ที่ใช้ตรวจโควิด แต่ช่างสำรวจกับวิศวะต้องเบรคอย่างไว และจะไปเข้าใจเนื้อหาเบื้องต้นและประโยชน์ของ RTK ในงานสำรวจกัน
สำหรับผู้อ่านที่โดยสารรถไฟฟ้ามหานคร (MRT) สายสีน้ำเงินอยู่เป็นประจำนั้น เคยสงสัยไหมว่า ทำไมเส้นทางช่วงหนึ่งถึงอยู่ใต้ดิน ส่วนอีกส่วนก็ดันอยู่บนดิน แถมลอยฟ้าอีกต่างหาก เรื่องนี้มีที่มาที่ไปนะเออ!
ย่างเข้าเดือนหก ฝนก็ตกพรำ ๆ น้ำตาของช่างสำรวจก็ร่วงเปาะแปะกันไปตามระเบียบ เนื่องจากฝนเจ้ากรรมดันทำพิษ! แต่ใครจะรู้ว่าน้ำที่เกิดเป็นฝนนั้น ก็ถูกนำมาใช้ประโยชน์ในวงการสำรวจด้วยนะ
ทฤษฎีการสร้างพีระมิดมีหลากหลาย ทั้งเอเลี่ยนสร้าง ทั้งมนุษย์สร้าง ก็ล้วนเป็นแค่ ‘การสันนิษฐาน’ จากคนยุคนี้ทั้งนั้น เรื่องจริงจะเป็นเช่นไรก็คงต้องปล่อยให้กาลเวลาและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ช่วยพิสูจน์ แต่ที่เราสามารถฟันธงได้เลยคือยุคนั้นจะต้องมีช่างสำรวจ ช่างโยธา และแรงงานที่เก่งกาจ ถึงได้สร้างสิ่งที่ยิ่งใหญ่น่าทึ่งน่าฉงนแบบนี้ได้ ข้าน้อยขอคารวะ!