หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
ย้อนกลับไปสมัยที่เทคโนโลยียังไม่เฟื่องฟูเท่าปัจจุบัน เหล่าวิศวกรหรือผู้ควบคุมงานทำยังไงละ? ที่จะให้งานโครงสร้างถูกต้องตามหลักวิศวกรรมและความปลอดภัย บทความนี้จะพาทุกท่านย้อนเวลากลับไป!
หากมนุษย์ดำรงอยู่ได้ด้วย ‘ปัจจัยทั้ง 4’ คือ ที่อยู่ อาหาร ยา เครื่องนุ่งห่ม (จริง ๆ ก็เงินด้วยล่ะนะ) ถ้าเปรียบชีวิตของคน ๆ หนึ่ง กับงานก่อสร้างแล้ว อะไรคือปัจจัยสำคัญที่ทำให้งานสามารถดำเนินได้เสร็จตามแผนกันล่ะ? มาหาคำตอบไปพร้อม ๆ กันเลยค่ะ ไป๊!
คำถามที่คนใช้รถ ใช้ถนนอาจจะสงสัยมากที่สุดนั่นคือ “ทำไมต้องทำถนนโค้ง?” หรือ “ทำทางตรงไม่ได้เหรอ?” แน่นอนค่ะ ถ้าคุณไม่ได้เรียนออกแบบถนนมาก็ต้องเกิดคำถามเหล่านี้ แต่สบายใจได้ บทความนี้เราจะเล่าให้ฟังว่าทำไมต้องมีทางโค้งบนถนน
ก่อนที่เข็มทิศจะถูกประดิษฐ์ขึ้นมานั้น นักเดินทางในยุคก่อนอาศัยดวงดาวในการนำทาง แต่ก็มีข้อจำกัดที่เราดูดาวได้เฉพาะตอนกลางคืนเท่านั้น! ด้วยเหตุนี้เข็มทิศที่ใช้หลักการของแม่เหล็กจึงถูกนำมาใช้กับเข็มทิศ บทความนี้จะพาผู้อ่านทุกท่านไปรู้จักประวัติศาสตร์ผ่านเข็มชิ้นเล็ก ๆ ไปสู่ความยิ่งใหญ่ของการเดินทางกัน!