หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
ช่างแว่นเลยจะมาแนะนำ '3 วิธีสำรวจ ช่างสำรวจทุกคนต้องรู้ไว้ ! ' เพราะพื้นฐานคือรากฐานสำคัญของคนทุกคน แม้แต่ช่างอย่างเราๆ เพื่อจะได้เข้าใจพื้นฐานงานสำรวจ-รังวัดกัน ซึ่งการแบ่งประเภทสามารถทำได้หลากหลาย แต่สำหรับบทความนี้ จะแบ่งวิธีการหา-อุปกรณ์/เครื่องที่ใช้ มีรูปประกอบอ่านง่ายๆ ชิวๆไม่เกิน 5 นาที
3 รูปแบบการส่งถ่ายข้อมูล กล้องTotal Station ทีช่างสำรวจคุ้นเคย แต่สิ่งที่บางท่านอาจไม่รู้ คือ Bluetooth ของแบรนด์ดังชอบเป็น Opitonal เราเลยจะมาแนะนำ Geomax Zoom-10 ที่ตอบโจทย์ยันส่งค่าพิกัดผ่าน LINE
คุณรู้เรื่องประวัติศาตร์ วิธีการ-เครื่องมือ งานสำรวจดีแค่ไหน ชาติใดคิดค้นวิธีตรวจสอบสามเส้า? เคยได้ยินเรื่อง โซ่Gunterหรือไม่? หากคุณไม่เคยและสนใจจะรู้ที่มาของมัน โปรดอ่านบทความความรู้งานสำรวจ เรียบเรียงโดย CST เพื่อเพิ่มความรู้ของคุณ