Blog งานสำรวจ-โยธา

Featured Post
การใช้เครื่องทดสอบคอนกรีตเพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของอาคารหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว

หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล

บทความเหล่านี้ ทำเพื่ออะไร?
บทความเหล่านี้ CST ตั้งใจเขียนเพื่อพี่น้องSurveying ได้ความรู้เกี่ยวกับงานสำรวจ รังวัด โยธา เข้าใจง่าย นำไปใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริง
คลิกเพื่ออ่าน
บทบาทของกล้องสำรวจในการประเมินความเสียหายหลังแผ่นดินไหว
April 9, 2025
ทุกครั้งที่เกิดแผ่นดินไหว ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ สิ่งที่ตามมาคือความกังวลต่อ “ความปลอดภัยของอาคาร” ที่เราใช้งานอยู่ ความเสียหายบางอย่างมองเห็นได้ชัด เช่น ผนังร้าว กระจกแตก หรือฝ้าหลุด แต่หลายกรณีกลับซ่อนอยู่ในโครงสร้างลึกภายใน โดยเฉพาะการเอียง การทรุด หรือการเปลี่ยนตำแหน่งที่ตาเปล่าไม่สามารถจับได้ทันทีในกระบวนการตรวจสอบอาคารหลังแผ่นดินไหว หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายคือ กล้องสำรวจ (Total Station) เพราะสามารถช่วยวัดความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างได้อย่างแม่นยำ และให้ข้อมูลเชิงปริมาณที่นำไปใช้ตัดสินใจเรื่องความปลอดภัย และแนวทางการซ่อมแซมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คลิกเพื่ออ่าน
การใช้เครื่องทดสอบคอนกรีตเพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของอาคารหลังเหตุการณ์แผ่นดินไหว
April 8, 2025
หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
คลิกเพื่ออ่าน
Ground-Penetrating Radar (GPR): เทคโนโลยีสำรวจใต้พื้นผิว ประยุกต์ใช้ได้ไม่จำกัด!
March 18, 2025
Ground-Penetrating Radar (GPR) คือเทคโนโลยีการสำรวจใต้พื้นผิวด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เพื่อตรวจจับและแสดงภาพโครงสร้างหรือวัตถุที่ฝังอยู่ใต้ดิน โดยไม่ต้องทำลายพื้นผิว และสามารถสร้างภาพแบบสองมิติ (2D) หรือสามมิติ (3D) เพื่อแสดงข้อมูลชั้นใต้ดินอย่างละเอียด GPR เริ่มมีการพัฒนาขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1970 โดยเริ่มต้นใช้ในงานธรณีวิทยาและการสำรวจใต้ผิวโลก ต่อมาเทคโนโลยีนี้ถูกปรับปรุงให้มีความแม่นยำและครอบคลุมการใช้งานหลากหลาย เช่น การตรวจสอบโครงสร้างถนน สะพาน และโบราณสถาน ปัจจุบัน GPR ได้กลายเป็นเครื่องมือสำคัญในการประเมินสภาพโครงสร้างพื้นฐานในหลากหลายอุตสาหกรรม
คลิกเพื่ออ่าน
5 เครื่องมือทดสอบงานโยธาที่วิศวกรโยธาควรรู้จัก
February 25, 2025
งานวิศวกรรมโยธาจำเป็นจะต้องมีการทดสอบคุณภาพของวัสดุที่ใช้ในงานก่อสร้าง รวมถึงการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้าง วิศวกรโยธาที่ดีจะต้องมีความรู้ในการตรวจสอบและประเมินคุณภาพวัสดุ เพื่อให้งานได้คุณภาพและมาตรฐานตรงตามข้อกำหนด ที่สำคัญ วิศวกรโยธาที่ดีจะต้องรู้จักเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ แต่ถ้าคุณเป็นวิศวกรคนหนึ่งที่ยังไม่รู้ หรือต้องการอ่านรายละเอียดที่ย่อยง่าย วันนี้เราจะมาแนะนำ 5 เครื่องมือทดสอบงานโยธาที่วิศวกรโยธาควรรู้จัก พร้อมข้อดีข้อเสียของแต่ละเครื่องมือกัน
No items found.

ข่าวสารและความรู้งานสำรวจ