หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
ฟุตบาท (ทางเท้า / บาทวิถี) เป็นเส้นทางที่ทำไว้ให้คนเดิน ถึงจะเห็นมอเตอร์ไซค์วิ่งก็ตาม ซึ่งสเป็คของทางเท้าที่ดี คือควรมีความเรียบ เดินแล้วสบายเท้า แต่ฟุตบาทประเทศไทยนั้น…ขอละไว้ฐานที่เข้าใจ ในความเป็นจริงแล้ว ฟุตบาทไทยห่างไกลกับคำว่า “ฟุตบาทที่ดี” มากน้อยแค่ไหน? เรามาดูสเป็คที่พึงมีกัน
ถ้าคุณอยู่ในกรุงเทพฯ และอยากไปโต้คลื่น ไม่ต้องไปที่ไหนไกลเลยค่ะ ขับรถมุ่หน้าไปถนนกำแพงเพชร 6 หรือแถวเขตดอนเมือง-หลักสี่ได้เลยค่ะ ขับไป เด้งไป ราวกับโต้คลื่นในทะเล ขับไปรำคาญไป ถนนเส้นนี้ขึ้นชื่อเรื่องความวายป่วงเนื่องจากถนนทรุดตัวทำให้เกิดอุบัติเหตุหลายต่อหลายครั้ง แต่ถนนชวนปวดหัวนี้มีมาได้ไง?
ท่านผู้ท่านเคยแอบคิดกันหรือเปล่าว่า ถ้าหากเราเอาสัญญาณไฟจราจรออกไปแล้ว คงจะดีไม่น้อย แต่แท้จริงแล้วนั้น กว่าจะติดตั้งสัญญาณไฟจราจร หรือที่เรียกกันติดปากว่า “ไฟแดง/ไฟเขียว” ได้นั้น ไม่ใช่ว่าจู่ ๆ จะนำมาติดตั้งกันได้เลยนะ บทความนี้จะพาผู้อ่านทุกท่านไปดูกันว่ากว่าที่ทางแยกหนึ่งจะมีเจ้าไฟสามสีขึ้นมา ต้องผ่านอะไรมาบ้าง
กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษ ฮ่าไห้! ฮ่าไห้! แล้วรู้หรือไม่ว่าเบื้องหลังสนามกีฬาหรือพื้นที่ทำกิจกรรมกีฬานั้นก็มี “งานสำรวจ” เป็นหนึ่งในตัวสำคัญ ที่ช่วยให้การเล่นกีฬาหลายประเภทราบรื่นด้วยนะ!
ถ้าพูดถึงการเดินทางหลักของประเทศไทย ก็คงไม่พ้นการเดินทางโดยรถประเภทต่างๆ ถนนแต่ละสายมีวิธีการสร้างแตกต่างกันออกไปตามประเภทและเส้นทางของถนน แน่นอนว่าการสร้างทุกอย่างก็ต้องเริ่มจากการสำรวจก่อน แต่ก่อนจะพูดถึงเรื่องสำรวจเพื่อการสร้างถนนจะขอเล่าถึงประเภทของถนนก่อนนะคะ