หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
โดยทั่วไป หลายคนอาจจะคิดว่าปูน (Cement) กับคอนกรีต (Concrete) เป็นสิ่งเดียวกัน แต่แท้จริงแล้วทั้ง 2 คำนี้คือคนละอย่างกัน ยังไม่นับตัวละครลับอย่างมอร์ต้าที่เพิ่มเข้ามาด้วยบทความนี้จะพาผู้อ่านทุกท่านไปรู้จักความแตกต่างระหว่างปูนทั้ง 3 ชนิดนี้กัน!
ในการก่อสร้างจะมีการกำหนดระดับ Finishing หรือระดับพื้นผิว ของงานสถาปัตย์ไว้เสมอเพื่อเป็นการอ้างอิงระดับ โดยระดับ Finishing นั้นจะถูกอ้างอิงจาก “เส้นออฟเมตร” อีกทอดหนึ่ง เพื่อให้งานก่อสร้างเป็นไปตามแบบเสมอ บทความนี้จะพาผู้อ่านทุกท่านไปรู้จักการถ่ายระดับ จาก “เส้นออฟเมตร” กัน!
ขนาดก้อนหินยังแหลกเป็นเม็ดทราย นับประสาอะไรกับหัวใจ เนื้อเพลงสุดติดหูของวง Seasons Five ทำให้เราฉุกคิดว่า เออเนอะ... ขนาดหินยังแหลกเลย นับประสาอะไรกับเครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้งานทุกวัน หากกล้องวัดมุมของคุณให้ค่าที่ไม่ถูกต้องคุณจะต้องซื้อใหม่เหรอ? ไม่เลย! แค่คุณเอาไป Calibrate เท่านั้น
หากพูดถึงการทดสอบความแข็งแรงของคอนกรีต คงคิดถึงภาพแล็บที่มีเครื่องมือเยอะแยะใช่ไหมคะ? แล้วถ้าบอกว่าแค่ ‘ค้อนอันเดียว’ ก็ทดสอบคอนกรีตที่แข็งตัวได้ ก็คงคิดว่าเอาค้อนปอนด์ไปทุบตึกใช่ไหม? ผิด! เดี๋ยวเราจะมาเล่าเรื่องการทดสอบคอนกรีตด้วยค้อนโดยไม่ทำลายตัวโครงสร้างให้อ่านกัน แป๊ปเดียวรู้เรื่อง!
เทอร์โมมิเตอร์นั้นมีอยู่มากมายหลายชนิด ก็เพราะแต่ละชนิดต่างถูกผลิตมาเพื่อใช้งานอย่างเหมาะสมสำหรับวัสดุที่มีคุณสมบัติต่างกัน เราจึงควรใช้เทอร์โมมิเตอร์ให้ถูกชนิดด้วยนะ! แต่ถ้างั้นมันใช้แทนกันได้หรือเปล่าเนี่ย? มารู้คำตอบได้ที่บทความนี้เลย! ใช้ผิดไม่รู้ด้วยนะ!!